วันเสาร์ที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555

แรงตึงผิว

http://www.promma.ac.th/main/chemistry/solid_liquid_gas/Surface_tension.htm

พระคุณที่สาม

คนเก่ง คนดี

เพลงครูบ้านนอก

เว็บโรงเรียนอนุบาลเชียงคำจ้า

http://203.172.210.114/

กรด-เบส

http://story.yenta4.com/AcidBaseLearning/category/Acid-Base

วันศุกร์ที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555

สารละลายกรดเบส

http://www.maceducation.com/e-knowledge/2412212100/14.htm

กรด เบสในชีวิตประจำวัน

http://www.lks.ac.th/student/kroo_su/chem22/life.htm

ต้อยติ่ง

การสืบพันธุ์ในพืช

http://daruneeflower.blogspot.com/2009/02/blog-post.html

แบบทดสอบโครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก

http://www.wongkasem.com/exam/exam_b01/

ข้อสอบ O-NET 52 สทศ.

http://www.niets.or.th/upload-files/uploadfile/5/fbfe18f1b879d660ced7453d77326714.pdf

แบบทดสอบเรื่องดาราศาสตร์

http://www.tps.ac.th/~kusol/ex6.htm

แบบทดสอบดาราศาสตร์

http://www.google.co.th/url?sa=t&rct=j&q=%E0%B9%81%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%94%E0%B8%AA%E0%B8%AD%E0%B8%9A%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%94%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B9%8C&source=web&cd=4&ved=0CEAQFjAD&url=http%3A%2F%2Fwww.islamwit.net%2F%25E0%25B9%2581%25E0%25B8%2599%25E0%25B8%25A7%25E0%25B8%2582%25E0%25B9%2589%25E0%25B8%25AD%25E0%25B8%25AA%25E0%25B8%25AD%25E0%25B8%259A%25E0%25B9%2582%25E0%25B8%25A5%25E0%25B8%2581%25E0%25B8%25A1.5.doc&ei=fotIT6b6B4fJrAeIz5WrDw&usg=AFQjCNGfr9fWNCQAZ6VZdevtQXDyoZqNJQ

แบบทดสอบเรื่องระบบสุริยะ

http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/phitsanulok/suwicha_p/posttest.html

เพลงดั่งดอกไม้บาน

เพลงเด็กเสริมปัญญา

เพลงวิตามิน

สรุปเรื่องแสงและการมองเห็น

http://www.scribd.com/doc/34147832/%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B8%B8%E0%B8%9B%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87-%E0%B9%81%E0%B8%AA%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B9%87%E0%B8%99

สมบัติของแสงและการเกิดภาพ

http://www.rmutphysics.com/CHARUD/oldnews/231/Test3.htm

แบบทดสอบเรื่องแสงและการมองเห็น

http://www.krukim.com/test%20sci/test%20p4/p4unit4.html

แบบทดสอบสมบัติของดิน

http://www.absorn.ac.th/e-learning/ebook/yupaporn/t3.html

แบบทดสอบหินและแร่

http://www.kksci.com/elreaning/hin/page/test_1_hin.htm

ตั้งใจทำนะจ๊ะเด็กๆ

http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/science03/26/2/ecology/content/test1.htm

เตรียมตัวก่อนสอบ สู้ สู้

http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/science04/109/unt4/test4.htm

เตรียมตัวก่อนสอบ

http://www.krukesorn.com/envir_quest.html

ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต


เว็บนี้ก็น่าสนใจนะคะ
http://www.trueplookpanya.com/true/knowledge_detail.php?mul_content_id=2980

ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ


ศึกษาได้จากเว็บไซต์นี้นะคะ
http://www.slideshare.net/oHellJungo/ss-4675687

นักวิทยาศาสตร์

กาลิเลโอ กาลิเลอี

เซอร์ไอแซก นิวตัน



มารี  กูรี

ไมเคิล  ฟาราเดย์

http://allknowledges.tripod.com/scientist.html

กล้วยไม้พันธุ์รองเท้านารี




http://www.panmai.com/Orchid/Paph/paph.shtml

ครูกระดาษทราย

บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป

ระบบเลือด

สนสองใบ และสนหางม้า


ต้นปรง

การทำน้ำยาอเนกประสงค์

การทำน้ำยาอเนกประสงค์ (สูตรชีวภาพ) ใช้ล้างจาน ล้างพื้นห้องน้ำ พื้นบ้าน ครัว ล้างมือ
เครื่องมือหรืออุปกรณ์
- ถังพลาสติกสีเข้มมีฝาปิดมิดชิด ขนาดความจุ 32 แกลลอน 1 ใบ
- เครื่องชั่งน้ำหนัก
- ถ้วยตวงน้ำ 1 ใบ
- ช้อน ไม้พาย สำหรับคน 1 คัน
- ผ้าขาวบางสำหรับกรอง 1 ผืน
- ช้อนตวง 1 ชุด

วัสดุที่ทำน้ำหมักชีวภาพ
- เปลือกสับปะรด 30 กิโลกรัม (สรรพคุณเป็นกรด ขจัดคราบมัน)
- หัวเชื้อ EM สด 1 กก.หรือ EM ขยาย(รุ่นลูก) 1.5 กก.(สรรพคุณช่วยย่อยสลายสับปะรด)
- น้ำตาลทรายแดง หรือโอวทึ้ง 1 กิโลกรัม (เป็นอาหารของ EM )
- น้ำสะอาดไม่มีคลอรีน (น้ำประปาพักไว้ 1 คืน ก่อนนำมาใช้) ใส่ท่วมวัสดุ

ขั้นตอนการดำเนินการ
1. ล้างกระป๋องและตะกร้าพลาสติกทิ้งไว้ให้แห้ง นำตะกร้าใส่ในกระป๋องพลาสติก
2. ชั่งเปลือกสับปะรด 30 กิโลกรัม จากนั้นนำมาล้างน้ำให้สะอาด หรือแช่ใน EM ขยาย ผสมน้ำสะอาด ในอัตรา 1:100 เพื่อล้างสารเคมีที่ติดมากับเปลือก โดยแช่ทิ้งไว้ประมาณ 1/2 ชั่วโมง
3. สับเป็นชิ้นเล็ก โดยวางถุงพลาสติกบนจานรองก่อน แล้วนำไปเทใส่ในตะกร้า
4. น้ำตาลทรายแดง ผสมกับหัวเชื้อ EM สด คนน้ำตาลทรายแดงจนละลายหมด
5. นำวัสดุข้อ 3 กับ 4 เทลงในตะกร้าสับปะรด คนให้เข้ากัน เติมน้ำสะอาดที่เตรียมไว้ใส่ให้ท่วมเนื้อวัสดุ ปิดฝาทิ้งไว้ 15 วัน เมื่อหมักไว้ 2-3 วัน คนให้เข้ากันอีกครั้ง
ถังที่หมักควรเก็บในที่มีแสงน้อย ภายในห้องหรือในที่ร่ม ที่อุณหภูมิปกติ เพราะ EM ชอบความมืด และต้องอยู่ในที่ไม่ร้อนจัด เย็นจัด การหมักจะเกิดฝ้าขาวเหนือผิวน้ำ แสดงว่าการหมักได้ผล แสดงว่า EM พักตัว เมื่อกวนลงไปฝ้าสีขาวจะสลายตัวกลับไปอยู่ในน้ำเหมือนเดิม นำน้ำสกัดชีวภาพที่ได้กรองด้วยผ้าขาวบาง โดยไม่ต้องบีบคั้นกาก จากนั้นนำน้ำสกัดชีวภาพใส่ถังปิดไว้ให้แน่นและปล่อยตกตะกอนอีก 2 ? 3 วัน (กากใส่ในตะกร้าปล่อยให้น้ำหยดเอง หากคั้นกากน้ำสกัดที่ได้สีจะขุ่นไม่น่าใช้ ส่วนกากที่เหลือนำไปผสมดินปลูกต้นไม้ก็ได้ )

หากต้องการฟอง มีความหนืดเหมือนน้ำยาล้างจานทั่วไป ให้เติม N70 (ผงหนืด), เกลือแกง (ที่ใช้รับประทาน) ดังนี้ N70 5% , เกลือแกง 4% (% ของน้ำหนักน้ำสกัดชีวภาพ)ตัวอย่าง น้ำสกัดชีวภาพ 1 ลิตร(1,000cc) เติม N70 = 50 cc (1,000 CC X 5%)หรือ 5 ช้อนโต๊ะ, เกลือแกง = 40 cc (1,000 CC X 4%) หรือ 4 ช้อนโต๊ะ (1 ช้อนโต๊ะ = 10 CC)
วิธีการผสม
นำน้ำสกัดชีวภาพ ผสมกับ N70 50 cc และ เกลือแกง 40 cc (N70 เกลือแกง กวนละลายให้เข้ากันก่อน) ปล่อยทิ้งไว้จนฟองหาย จึงนำมาบรรจุขวดพลาสติก หากต้องการสี กลิ่น ให้เติมตามใจชอบ น้ำยาล้างจานให้กลิ่นมะนาวแทนกลิ่นใบเตยเป็นที่นิยม หากต้องการขัดพื้นห้องน้ำ ทำความสะอาดเครื่องสุขภัณฑ์ ทำน้ำยาล้างมือก็เปลี่ยนสี กลิ่น ตามใจชอบ (สี กลิ่น N70 หาซื้อได้แถวสี่แยกวัดตึก พาหุรัด หรือร้านขายเคมีภัณฑ์)
หมายเหตุ น้ำยาล้างจานสูตรนี้ระยะแรกๆ สีจะขุ่นต่อมาจะตกตะกอน กลิ่นจะฉุนคล้ายไวน์มากขึ้นเรื่อยๆ และสีจะใสน่าใช้ยิ่งขึ้นด้วย

วิธีใช้
ใช้ล้างจาน พื้นห้องน้ำ พื้นบ้าน โดยไม่ต้องผสมน้ำ ใช้เหมือนน้ำยาตามท้องตลาด การล้างจานจำนวนมาก ควรแช่จานในน้ำยาล้างจานผสมน้ำ (สัดส่วนน้ำยาล้างจาน 1 ส่วน : น้ำ 5 ส่วน) แช่ทิ้งไว้ประมาณ 20 นาทีก่อนล้าง เพื่อให้สะอาดทั่วถึง แล้วล้างน้ำสะอาดจนกว่าแน่ใจว่าสะอาด ควรตากจานให้แห้งก่อนนำไปใช้ เพื่อป้องกันการตกค้างของจุลินทรีย์ในหยดน้ำที่เกาะอยู่บนจาน สรรพคุณ ล้างจาน พื้นห้องน้ำ พื้นบ้าน ได้สะอาด ขจัดคราบมันในครัวได้เป็นอย่างดี ไม่มีกลิ่นตกค้าง ถนอมมือ และที่สำคัญไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม ไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
หมายเหตุ 1.น้ำยาอเนกประสงค์สูตรนี้ สามารถใช้เป็นน้ำยาล้างมือได้อย่างปลอดภัยทำให้มือนุ่ม โดยใช้น้ำสกัดชีวภาพ 1 ส่วน ต่อ น้ำสะอาด 2 ส่วน เติม มัยลาพ 3 กก. ต่อ สับปะรด 20 กก. นำมัยลาพมาต้มเดือด ปล่อยให้เย็นแล้วผสม จะทำให้มือนุ่ม
วัสดุที่ใช้แทนเปลือกสับปะรด ได้แก่ มะขามเปียก มะกรูด มะเฟือง กากกระเจี๊ยบที่ต้มน้ำแล้ว เปลือกมะนาว เปลือกส้ม เปลือกเสาวรส เปลือกส้มโอ หรือเปลือกผลไม้ที่มีรสเปรี้ยวๆ เพราะมีสภาพเป็นกรดเหมือนกับสับปะรด ฤดูกาลไหน วัสดุใดมีราคาถูกก็ใช้วัสดุนั้น ตามหลักควรใช้เปลือก หลังจากหมักทำน้ำยาแล้วก็เอากากที่หมักแล้วมาทำปุ๋ย ไม่มีการทิ้งเปล่า การทำน้ำยาอเนกประสงค์ จำนวนมากน้อยให้ใช้สัดส่วนดังกล่าวข้างต้น โดยการคำนวณบัญญัติไตรยางค์
โดยกลุ่มงานชีววิถีเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย โทร.02-436-3432


 
อ้างอิงจากผู้ทรงคุณวุฒิ
*

เพศ: หญิง
กระทู้: 1,501
สมาชิกลำดับที่ 6
จะขอตามรอยของพ่อท่องคำว่า"เพียง"และ"พอ"จากหัวใจ

กลุ่มดาวจักราศี

จันทรุปราคา

ข้างขึ้นข้างแรม

สุริยุปราคา

เงาของโลกและดวงจันทร์

science show

รุ้งกินน้ำ

วิทย์คิดสนุก

สารประกอบไฮโดรคาร์บอน

ความหวาน

สนุกวิทย์

คลื่นเสียง

ทำไมท้องฟ้าจึงมีสีฟ้า

วันพฤหัสบดีที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555

สมบัติของน้ำ

ความตึงผิว (Surface tension)

รูปที่ 1 แสดงปรากฏการณ์ของความตึงผิวที่พบเห็นในชีวิตประจำวัน ลักษณะของความตึงผิวแบบต่าง ๆ
รูปที่ 2 ตัวจิงโจ้น้ำ วิ่งบนผิวน้ำ
ความตึงผิว คือ แรงต่อความยาวของผิวสัมผัส (ความพยายามในการยึดผิวของของเหลว)
แรงดึงผิวของของเหลว
คือ
 แรงที่เกิดขึ้นบริเวณที่ผิวของของหลสัมผัสกับของหลอื่นหรือกับผิวของแข็งโดยมีพลังงานเพียงพอต่อการยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล  ซึ่งมีขนาดสัมพัธ์กับแรงยึดติดและแรงเชื่อมแน่นทำให้เกิดเป็นลักษณะคล้ายๆ  กับแผ่นบางๆ ที่สามารถต้านแรงดึงได้เล็กน้อย มีทิศขนานกับผิวของเหลวและตั้งฉากกับเส้นขอบที่ของเหลวสัมผัส เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้นความตึงผิวของเหลวจะมีค่าลดลง




รูปที่ 3 แสดงโมเลกุลใต้พื้นผิวของของเหลว จะมีแรงกระทำระหว่างกันในทุกทิศทาง ขณะที่โมเลกุลที่พื้นผิว จะมีแรงกระทำจากด้านล่างเท่านั้น ซึ่งจะทำให้มีแรงตึงผิวเข้าสู่ศูนย์กลาง




  ในของไหลทุกชนิดจะมีคุณสมบัติของแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล  2  ชนิด  คือ
1. แรงยึดติด (Cohesive Forces)
  คือแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของของหลชนิดเดียวกันแรงนี้สามารถรับความเค้นดึง  (tensile stress)   ได้เล็กน้อย

2. แรงเชื่อมแน่น (Adhesive  force) คือแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของของหลกับสารชนิดอื่น  เช่น  น้ำกับแก้ว  ปรอทกับแก้ว  เป็นต้น
 
รูปที่ 4 แสดงความสัมพันธ์ระหว่างความตึงผิวและแรงดึงผิว
ปรากฏการณ์ของความตึงผิว
1.  การเกิดหยดของหล  ( droplet )   เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นกับของหลที่มีขนาดเล็กและอยู่อย่างอิสระ  เช่น  เม็ดของของหลในบรรยากาศ  หรือเม็ดของของหลที่เกิดจากหัวฉีดที่ฉีดของหลออกมาเป็นฝอยหรือละอองเล็กๆ  หรือเม็ดของของหลที่เกาะตามใบไม้  ซึ่งอิทธิพลของแรงตึงผิวจะพยายามปรับรูปร่างให้เม็ดของของหลมีลักษณะเป็นรูปทรงกลม  ทำให้แรงดันในหยดของหลมากขึ้น  เพื่อให้เกิดแรงต้านแรงตึงผิว  เป็นผลให้หยดของหลคงสภาพอยู่ได้อย่างสมดุลถ้าพิจารณาหยดของหลทรงกลมที่มีรัศมี  r  และความดันภายในหยดของหล  P  โดย
 

รูปที่ 5 หยดปรอท: หยดเล็ก ๆ จะมีรูปร่างเป็นทรงกลม ขณะที่หยดที่ใหญ่กว่าจะเป็นทรงกลมแบน เนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลก

รูปที่ 6 หยดน้ำ พอลิเมอร์ซิลิโคน (silicone polymer) ที่เคลือบบนแก้ว/กระจก จะลด Adhesive forces ระหว่างโมเลกุลของน้ำกับพื้นผิวทำให้น้ำไม่เกาะติดบนพื้นผิวของแก้ว/กระจก
 
2.  คาพิลลาริตี้ ( capillarity ) คือปรากฏการณ์ที่ของไหลที่สัมผัสกับวัตถุแล้วมีลักษณะสูงขึ้นหรือต่ำลง  เนื่องมาจากอิทธิพลของแรงยึดติดและแรงเชื่อมแน่น  เช่น  บริเวณที่น้ำสัมผัสกับผิวแก้ว จะมีระดับน้ำสูงขึ้นเล็กน้อย เพราะแรงยึดติดระหว่างโมเลกุลของน้ำกับโมเลกุลของแก้วมีมากกว่าแรงเชื่อมแน่นระหว่างโมเลกุลของน้ำ  แต่ถ้าเป็นบริเวณที่ปรอทสัมผัสกับผิวแก้ว  ระดับปรอทจะต่ำลงเล็กน้อย  เนื่องจากเชื่อมแน่นระหว่างโมเลกุลของปรอทมีมากกว่าแรงยึดติดระหว่างโมเลกุลของปรอทกับโมเลกุลของแก้ว
 
รูปที่ 7 แสดง ผิวสัมผัสระหว่างน้ำกับแก้ว และปรอทกับแก้ว

เมื่อนำหลอดแก้วขนาดเล็กที่มีรัศมี r จุ่มลงในของไหลที่มีแรงยึดติดมากกว่าแรงเชื่อมแน่น  จะเห็นของไหลสูงขึ้นเป็นระยะ  โดยของหลมีแรงดึงผิว  F ทำมุม  θ  กับแนวดิ่ง
รูปที่ 8 แสดงความสัมพันธ์ของความสูงและความตึงผิว